การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่เป็นการทัพของขุนศึกเล่าปี่เพื่อเข้ายึดครองเอ๊กจิ๋วที่ผู้ว่าราชการเล่าเจี้ยงปกครองในราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตอนปลาย การทัพนี้เกิดขึ้นในช่วง ค.ศ. 212 — 214 อันตรงกับช่วงปลาย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เล่าปี่เป็นฝ่ายชนะ และเอ๊กจิ๋วจะเป็นรากฐานของรัฐจ๊กก๊ก (สู่ฮั่น) ระหว่างสมัยสามก๊ก

การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่
ส่วนหนึ่งของ สงครามเมื่อปลายราชวงศ์ฮั่น
วันที่มกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 213[1] – กรกฎาคม ค.ศ. 214[2]
สถานที่
เอ๊กจิ๋ว (ปัจจุบันคือมณฑลเสฉวนและฉงชิ่ง) ประเทศจีน
ผลเล่าปี่ชนะ
คู่สงคราม
เล่าปี่เล่าเจี้ยง
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
เล่าปี่เล่าเจี้ยง Surrendered
กำลัง
มากกว่า 30,000 นาย[3]
ไม่ทราบจำนวนกำลังเสริมของเตียวหุย, จูล่ง และจูกัดเหลียง[4]
อย่างน้อย 30,000 นายที่ป้องกันเฉิงตู[5]
ไม่ทราบจำนวนกองทัพภายใต้การนำของขุนศึกคนอื่นในภูมิภาค
ความสูญเสีย
ไม่ทราบไม่ทราบ

เบื้องหลัง

แก้

หมายเหตุ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Sima (1084), vol. 66.
  2. Sima (1084), vol. 67.
  3. (先主並軍三萬餘人,車甲器械資貨甚盛。) Sanguozhi vol. 32.
  4. (諸葛亮、張飛、趙雲等將兵溯流定白帝、江州、江陽,惟關羽留鎮荊州。) Sanguozhi vol. 32.
  5. (城中尚有精兵三萬人,谷帛支一年,) Sanguozhi vol. 31.
  • ตันซิ่ว. จดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อ).
  • Chang Qu (4th century). Chronicles of Huayang (Huayang Guo Zhi).
  • เผย์ ซงจือ. อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อจู้).
  • Sima, Guang (1084). Zizhi Tongjian.
🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวอสมทสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีศิริลักษณ์ คองลิซ่า (แร็ปเปอร์)พระสุนทรโวหาร (ภู่)อาณาจักรอยุธยาพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)อาณาจักรสุโขทัยฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปราชวงศ์จักรีอริยสัจ 4พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยตารางธาตุพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยกรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์วอลเลย์บอลภาวะโลกร้อนรอยรักรอยบาปสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีลานีญาประวัติศาสตร์ไทยอาณาจักรธนบุรีอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)วันอาสาฬหบูชาสงครามโลกครั้งที่สอง