ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ

ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ (อังกฤษ: economic nationalism) หรือ ประชานิยมทางเศรษฐกิจ (อังกฤษ: economic populism) หมายความถึงอุดมการณ์ที่สนับสนุนการแทรกแซงเศรษฐกิจของรัฐมากกว่ากลไกตลาดแบบอื่น โดยมีนโยบายอย่างการควบคุมเศรษฐกิจ แรงงานและการก่อให้เกิดทุนในประเทศ แม้แต่การกำหนดภาษีศุลกากรหรือข้อกำหนดการเคลื่อนไหวแรงงาน สินค้าและทุนอย่างอื่น ในหลายกรณี นักชาตินิยมทาเศรษฐกิจคัดค้านโลกาภิวัฒน์ หรืออย่างน้อยตั้งคำถามถึงประโยชน์ของการค้าเสรีแบบไร้ข้อจำกัด

ข้อวิจารณ์

แก้

การที่ผู้บริโภคนิยมเลือกซื้อสินค้าท้องถิน่ทำให้ผู้ผลิตท้องถิ่นมีอำนาจผูกขาด ทำให้สามารถปรับราคาสูงขึ้นได้เพื่อค้ากำไรเพิ่ม บริษัทที่ผลิตสินค้าที่ผลิตได้ในท้องถิ่นสามารถคิดค่าธรรมเนียมพิเศษ (premium) สำหรับสินค้านั้น ๆ ได้ ผู้บริโภคที่นิยมสินค้าของผู้ผลิตท้องถิ่นอาจถูกเอาเปรียบจากผู้ผลิตท้องถิ่นที่เน้นค้ากำไรสูงสุด ตัวอย่างเช่น นโยบายลัทธิคุ้มครองในสหรัฐกำหนดภาษีศุลกากรสำหรับรถยนต์ต่างประเทศ ทำให้ผู้ผลิตท้องถิ่นมีอำนาจตลาดที่ทำให้สามารถปรับราคารถยนต์เพิ่มได้ ซึ่งมีผลด้านลบต่อผู้บริโภคชาวอเมริกันซึ่งมีตัวเลือกน้อยลงและใช้รถยนต์ที่มีราคาสูงขึ้น[1]

อ้างอิง

แก้
  1. Daniel J. Ikenson (6 July 2003). "The Big Three's Shameful Secret". The Cato Institute. สืบค้นเมื่อ 17 April 2012.
🔥 Top keywords: พระสุนทรโวหาร (ภู่)หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหารายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)อสมทฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระอภัยมณีฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปโฉมฉาย ฉัตรวิไลศิริลักษณ์ คองดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)พิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์พระอภัยมณี (ตัวละคร)ณภัทร เสียงสมบุญสุรเชษฐ์ หักพาลอาณาจักรอยุธยาอริยสัจ 4ราชวงศ์จักรีรอยรักรอยบาปนิราศภูเขาทองพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนางสุวรรณมาลีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพิมพ์ผกา เสียงสมบุญวินัย ทองสองประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยตารางธาตุวอลเลย์บอลพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลลิซ่า (แร็ปเปอร์)กรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโรงเรียนปทุมคงคา