ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศประจำปีของสมาชิกใน สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (AFF) และชาติที่ถูกรับเชิญมาเป็นครั้งคราวก็มาจากส่วนที่เหลือของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์ที่เล่นก่อนหน้านี้ที่อยู่ภายใต้อายุไม่เกิน 17 ปี[1]การแข่งขันจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2002[2] และกลับมาแข่งขันต่อในปี 2005

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี
ก่อตั้ง2002
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AFF)
จำนวนทีม12
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน อินโดนีเซีย (2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ไทย
 เวียดนาม
(3 สมัย)
2022

ผลการแข่งขัน

แก้
ปีเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศนัดชิงอันดับที่สาม
ชนะเลิศผลอันดับที่สองอันดับที่สามผลอันดับที่สี่
2002
รายละเอียด
 มาเลเซีย
 อินโดนีเซีย

พม่า
4 – 1
ลาว

อินโดนีเซีย
1 – 0
มาเลเซีย
2005
รายละเอียด

ไทย

พม่า
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)

ไทย

ลาว
3 – 1
มาเลเซีย
2006
รายละเอียด

เวียดนาม

เวียดนาม
พบกันหมด
พม่า

บังกลาเทศ
พบกันหมด
ลาว
2007
รายละเอียด

กัมพูชา

ไทย
3 – 2
ลาว

เวียดนาม
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)

อินโดนีเซีย
2008
รายละเอียด

อินโดนีเซีย

ออสเตรเลีย
1 – 1
(5-4 ลูกโทษ)

บาห์เรน

มาเลเซีย
3 – 0
สิงคโปร์
2009
รายละเอียด

ไทย
ไม่มีการแข่งขันไม่มีการแข่งขัน
2010
รายละเอียด

อินโดนีเซีย

เวียดนาม
1 – 0
จีน

ติมอร์-เลสเต
2 – 0
อินโดนีเซีย
2011
รายละเอียด

ลาว

ไทย
1 – 0
ลาว

พม่า
2 – 1
สิงคโปร์
2012
รายละเอียด

ลาว

ญี่ปุ่น
3 – 1
ออสเตรเลีย

ลาว
3 – 0
ไทย
2013
รายละเอียด

พม่า

มาเลเซีย
1 – 1
(3-2 ลูกโทษ)

อินโดนีเซีย

ออสเตรเลีย
0 – 0
(7-6 ลูกโทษ)

เวียดนาม
2014
รายละเอียด

อินโดนีเซีย
ไม่มีการแข่งขันไม่มีการแข่งขัน
2015
รายละเอียด

กัมพูชา

ไทย
3 – 0
พม่า

ออสเตรเลีย
10 – 2
ลาว
2016
รายละเอียด

กัมพูชา

ออสเตรเลีย
3 – 3
(5-3 ลูกโทษ)

เวียดนาม

ไทย
3 – 0
กัมพูชา
2017
รายละเอียด

ไทย

เวียดนาม
0 – 0
(4–2 ลูกโทษ)

ไทย

ออสเตรเลีย
3 – 2
มาเลเซีย
2018
รายละเอียด

อินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย
1 – 1
(4–3 ลูกโทษ)

ไทย

มาเลเซีย
1 – 0
พม่า
2019
รายละเอียด

ไทย

มาเลเซีย
2 – 1
ไทย

อินโดนีเซีย
0 – 0
3–2 ลูกโทษ

เวียดนาม
2022
รายละเอียด

อินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย
1–0
เวียดนาม

ไทย
3–0
พม่า

ความสำเร็จในการแข่งขัน

แก้
ชาติชนะเลิศรองชนะเลิศอันดับที่สามอันดับที่สี่
 ไทย3 (2007, 2011, 2015)4 (2005, 2017, 2018, 2019)2 (2016, 2022)1 (2012)
 เวียดนาม3 (2006, 2010, 2017)2 (2016, 2022)1 (2007)2 (2013, 2019)
 พม่า2 (2002, 2005)2 (2006, 2015)1 (2011)
 ออสเตรเลีย2 (2008, 2016)1 (2012)3 (2013, 2015, 2017)
 อินโดนีเซีย2 (2018, 2022)1 (2013)2 (2002, 2019)2 (2007, 2010)
 มาเลเซีย2 (2013, 2019)2 (2008, 2018)3 (2002, 2005, 2017)
 ญี่ปุ่น1 (2012)
 ลาว3 (2002,2007, 2011)2 (2005, 2012)2 (2006, 2015)
 อินโดนีเซีย1 (2013)1 (2012)2 (2007, 2010)
 จีน1 (2010)
 บาห์เรน1 (2008)
 บังกลาเทศ1 (2006)
 ติมอร์-เลสเต1 (2010)
 สิงคโปร์2 (2008, 2011)
 กัมพูชา1 (2016)

ดูเพิ่ม

แก้

ดูเพิ่ม

แก้
  1. "AFC U-16 Championship 2008 Competition Information". the-afc.com. Asian Football Confederation. 18 September 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-16. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.
  2. "ASEAN U-17 Championship 2002". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพระสุนทรโวหาร (ภู่)พิเศษ:ค้นหาอสมทโฉมฉาย ฉัตรวิไลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนาฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ชัยวัฒน์ สถาอานันท์รายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีศิริลักษณ์ คองลิซ่า (แร็ปเปอร์)ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)บรรยิน ตั้งภากรณ์สมชาย วงศ์สวัสดิ์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอริยสัจ 4วอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024ราชวงศ์จักรีพระอภัยมณีอาณาจักรอยุธยาพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยตารางธาตุวอลเลย์บอลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยอิน-จันนิราศภูเขาทองกรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์สุรเชษฐ์ หักพาลพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวอาณาจักรสุโขทัยทวีปยุโรป