ยังดีเปอร์ตวนอากง

สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย หรือ ยังดีเปอร์ตวนอากง (แปลว่า พระองค์ผู้กลายเป็นเจ้า (He Who is Made Lord)[2] มลายู: Yang di-Pertuan Agong, يڠ دڤرتوان اݢوڠ) รู้จักกันในชื่อ ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่, ผู้ปกครองสูงสุด หรือ ราจา เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประมุขแห่งรัฐของประเทศมาเลเซีย สถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1957 เมื่อสหพันธรัฐมาลายา (ปัจจุบันคือมาเลเซีย) ได้รับอิสรภาพจากสหราชอาณาจักร โดยเลือกตั้งผ่านที่ประชุมประมุขของรัฐ ประกอบไปด้วยผู้นำรัฐมาเลเซีย 9 แห่ง แต่โดยพฤตินัยเป็นการหมุนเวียนระหว่างกัน ทำให้มาเลเซียเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศในโลกที่มีราชาธิปไตยโดยเลือกตั้ง

ยังดีเปอร์ตวนอากง
يڠ دڤرتوان اݢوڠ
ตราอาร์มของยังดีเปอร์ตวนอากง
ธงพระอิสริยยศของยังดีเปอร์ตวนอากง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
สมเด็จพระราชาธิบดีอิบราฮิม อิซมาอิลแห่งยะโฮร์
ตั้งแต่ 31 มกราคม ค.ศ. 2024
การเรียกขานใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท (เกอบาวะฮ์ดูลี ยังมาฮามูลียา เซอรีปาดูกา บากินดา)
จวนอิสตานา เนอการา, จาลันตวนกูอับดุลฮาลิม, กัวลาลัมเปอร์
อิสตานา เมอลาวาตี, ปูตราจายา
ผู้แต่งตั้งที่ประชุมประมุขของรัฐ (ผู้นำรัฐมาเลเซีย)
วาระ5 ปี
ไม่สามารถเป็นได้ใหม่ทันที
ตราสารจัดตั้งรัฐธรรมนูญมาเลเซีย มาตราที่ 32
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ระห์มัน
สถาปนา31 สิงหาคม 1957; 66 ปีก่อน (1957-08-31)
รองสุลต่าน นัซรีน มูอิซซุดดีน ชาฮ์
เงินตอบแทน1,054,560.00 ริงกิตต่อปี[1]
เว็บไซต์www.istananegara.gov.my

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์ ชะฮ์ ยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 16 และคนปัจจุบัน ได้ปกครองต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน ผู้ที่สละราชสมบัติในวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 2019 ที่ประชุมประมุขของรัฐได้เลือกพระองค์ในวันที่ 24 มกราคม พระองค์ตรัสคำสัตยบันและได้ปฏิญาณที่อิสตานา เนอการาในวันที่ 31 มกราคม[3]

สมเด็จพระราชินีของยังดีเปอร์ตวนอากงมีพระนามว่า รายา ประไหมสุหรี อากง (มลายู: Raja Permaisuri Agong, راج ڤرمايسوري اݢوڠ) และทั้งคู่มียศตามภาษาอังกฤษว่า "ฮิสแมเจสตี" กับ "เฮอร์แมเจสตี"[4]

รายพระนาม

แก้

สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย (ยังดีเปอร์ตวนอากง)

แก้

นี่คือรายพระนามผู้เป็นยังดีเปอร์ตวนอากง:

#พระนามรัฐครองราชย์สวรรคต
1สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ระห์มัน รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน31 สิงหาคม ค.ศ. 1957 – 1 เมษายน ค.ศ. 19601 เมษายน ค.ศ. 1960(1960-04-01) (64 ปี)
2สมเด็จพระราชาธิบดีฮีซามุดดิน อาลัม ชาห์ รัฐเซอลาโงร์14 เมษายน ค.ศ. 1960 – 1 กันยายน ค.ศ. 19601 กันยายน ค.ศ. 1960(1960-09-01) (62 ปี)
3สมเด็จพระราชาธิบดีซัยยิด ปูตรา  รัฐปะลิส21 กันยายน ค.ศ. 1960 – 20 กันยายน ค.ศ. 196516 เมษายน ค.ศ. 2000(2000-04-16) (79 ปี)
4สมเด็จพระราชาธิบดีอิสมาอิล นาซีรุดดิน ชาห์  รัฐตรังกานู21 กันยายน ค.ศ. 1965 – 20 กันยายน ค.ศ. 197020 กันยายน ค.ศ. 1979(1979-09-20) (72 ปี)
5สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์
สมัยแรก
 รัฐเกอดะฮ์21 กันยายน ค.ศ. 1970  – 20 กันยายน ค.ศ. 197511 กันยายน ค.ศ. 2017(2017-09-11) (89 ปี)
6สมเด็จพระราชาธิบดียะห์ยา เปตรา  รัฐกลันตัน21 กันยายน ค.ศ. 1975 – 29 มีนาคม ค.ศ. 197929 มีนาคม ค.ศ. 1979(1979-03-29) (61 ปี)
7สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี อาห์หมัด ชาห์  รัฐปะหัง26 เมษายน ค.ศ. 1979 – 25 เมษายน ค.ศ. 198422 พฤษภาคม ค.ศ. 2019(2019-05-22) (88 ปี)
8สมเด็จพระราชาธิบดีอิสกันดาร์  รัฐยะโฮร์26 เมษายน ค.ศ. 1984 – 25 เมษายน ค.ศ. 198922 มกราคม ค.ศ. 2010(2010-01-22) (77 ปี)
9สมเด็จพระราชาธิบดีอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์  รัฐเประ26 เมษายน ค.ศ. 1989 – 25 เมษายน ค.ศ. 199428 พฤษภาคม ค.ศ. 2014(2014-05-28) (86 ปี)
10สมเด็จพระราชาธิบดีจาฟาร์ รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน26 เมษายน ค.ศ. 1994 – 25 เมษายน ค.ศ. 199927 ธันวาคม ค.ศ. 2008(2008-12-27) (86 ปี)
11สมเด็จพระราชาธิบดีซาลาฮุดดีน อับดุล อาซิซ รัฐเซอลาโงร์26 เมษายน ค.ศ. 1999 – 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 200121 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001(2001-11-21) (75 ปี)
12สมเด็จพระราชาธิบดีซัยยิด ซีรอญุดดีน  รัฐปะลิส13 ธันวาคม ค.ศ. 2001 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2006
13สมเด็จพระราชาธิบดีมีซัน ไซนัล อาบีดิน  รัฐตรังกานู13 ธันวาคม ค.ศ. 2006 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2011
14สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์
สมัย 2
 รัฐเกอดะฮ์13 ธันวาคม ค.ศ. 2011 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 201611 กันยายน ค.ศ. 2017(2017-09-11) (89 ปี)
15สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน  รัฐกลันตัน13 ธันวาคม ค.ศ. 2016 – 6 มกราคม ค.ศ. 2019
16สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์ ชะฮ์  รัฐปะหัง31 มกราคม ค.ศ. 2019 – 30 มกราคม ค.ศ. 2024
17สมเด็จพระราชาธิบดีอิบราฮิม อิซมาอิลแห่งยะโฮร์  รัฐยะโฮร์31 มกราคม ค.ศ. 2024 – ปัจจุบัน

รองสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย (ติมบาลันยังดีเปอร์ตวนอากง)

แก้

นี่คือรายพระนามผู้ปกครองที่ดำรงตำแหน่งติมบาลัน ยังดีเปอร์ตวนอากง (Timbalan Yang di-Pertuan Agong แปลตรงตัว: รองยังดีเปอร์ตวนอากง):[5]

ลำดับพระนามรัฐดำรงตำแหน่งสวรรคต
1สมเด็จพระราชาธิบดีฮีซามุดดิน อาลัม ชาห์* รัฐเซอลาโงร์31 สิงหาคม ค.ศ. 1957 – 1 เมษายน ค.ศ. 19601 กันยายน ค.ศ. 1960(1960-09-01) (62 ปี)
2สมเด็จพระราชาธิบดีซัยยิด ปูตรา*  รัฐปะลิส14 เมษายน ค.ศ. 1960 – 1 กันยายน ค.ศ. 196016 เมษายน ค.ศ. 2000(2000-04-16) (79 ปี)
3สมเด็จพระราชาธิบดีอิสมาอิล นาซีรุดดิน ชาห์*  รัฐตรังกานู21 กันยายน ค.ศ. 1960 – 20 กันยายน ค.ศ. 196520 กันยายน ค.ศ. 1979(1979-09-20) (72 ปี)
4สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์* สมัยแรก  รัฐเกอดะฮ์21 กันยายน ค.ศ. 1965  – 20 กันยายน ค.ศ. 197011 กันยายน ค.ศ. 2017(2017-09-11) (89 ปี)
5สมเด็จพระราชาธิบดียะห์ยา เปตรา*  รัฐกลันตัน21 กันยายน ค.ศ. 1970 – 20 กันยายน ค.ศ. 197529 มีนาคม ค.ศ. 1979(1979-03-29) (61 ปี)
6สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี อาห์หมัด ชาห์*  รัฐปะหัง21 กันยายน ค.ศ. 1975 – 29 มีนาคม ค.ศ. 197922 พฤษภาคม ค.ศ. 2019(2019-05-22) (88 ปี)
7สมเด็จพระราชาธิบดีจาฟาร์ สมัยแรก รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน26 เมษายน ค.ศ. 1979 – 25 เมษายน ค.ศ. 198427 ธันวาคม ค.ศ. 2008(2008-12-27) (86 ปี)
8สมเด็จพระราชาธิบดีอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์*  รัฐเประ26 เมษายน ค.ศ. 1984 – 25 เมษายน ค.ศ. 198928 พฤษภาคม ค.ศ. 2014(2014-05-28) (86 ปี)
9สมเด็จพระราชาธิบดีจาฟาร์* สมัย 2 รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน26 เมษายน ค.ศ. 1989 – 25 เมษายน ค.ศ. 199427 ธันวาคม ค.ศ. 2008(2008-12-27) (86 ปี)
10สมเด็จพระราชาธิบดีซาลาฮุดดีน อับดุล อาซิซ* รัฐเซอลาโงร์26 เมษายน ค.ศ. 1994 – 25 เมษายน ค.ศ. 199921 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001(2001-11-21) (75 ปี)
11สมเด็จพระราชาธิบดีมีซัน ไซนัล อาบีดิน สมัยแรก  รัฐตรังกานู26 เมษายน ค.ศ. 1999 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2001
12สมเด็จพระราชาธิบดีมีซัน ไซนัล อาบีดิน* สมัย 2  รัฐตรังกานู13 ธันวาคม ค.ศ. 2001 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2006
13สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์* สมัย 2  รัฐเกอดะฮ์13 ธันวาคม ค.ศ. 2006 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 201111 กันยายน ค.ศ. 2017(2017-09-11) (89 ปี)
14สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน*  รัฐกลันตัน13 ธันวาคม ค.ศ. 2011 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 2016
15นัซรีน ชาฮ์แห่งรัฐเปรัก สมัยแรก  รัฐเประ13 ธันวาคม ค.ศ. 2016 – 31 มกราคม ค.ศ. 2019
16นัซรีน ชาฮ์แห่งรัฐเปรัก สมัย 2  รัฐเประ31 มกราคม ค.ศ. 2019 – 30 มกราคม ค.ศ. 2024
17นัซรีน ชาฮ์แห่งรัฐเปรัก สมัย 3  รัฐเประ31 มกราคม ค.ศ. 2024 – ปัจจุบัน

* สำหรับผู้ที่กลายเป็นยังดีเปอร์ตวนอากงตอนสิ้นสมัยติมบาลันยังดีเปอร์ตวนอากง

อ้างอิง

แก้
  1. "Act 269 - Civil List Act 1982" (PDF). Attorney-General Chamber. AGC Malaysia. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  2. "Malaysia king: Sultan Muhammad V sworn in". BBC. 13 December 2016.
  3. Azil, Firdaus; Januari 24, Astro Awani |; Myt, 2019 15:21. "Sultan Pahang sah YDP Agong baharu | Astro Awani". www.astroawani.com (ภาษามาเลย์). สืบค้นเมื่อ 2019-01-24.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  4. "Her Majesty Raja Permaisuri Agong". Government of Malaysia Official Gateway. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  5. "Senarai Timbalan Yang di-Pertuan Agong". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-10. สืบค้นเมื่อ 2020-12-03.

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Visu Sinnadurai, "His Majesty Sultan Azlan Shah: The Yang di-Pertuan Agong IX Malaysia", The Supreme Court Journal, Kuala Lumpur, ISSN 0128-066X. (Special issue to commemorate the installation of His Majesty Sultan Azlan Shah as the Yang di-Pertuan Agong IX Malaysia, with a lengthy description of the functions of the office.)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
🔥 Top keywords: หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)พระสุนทรโวหาร (ภู่)วอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีกพิเศษ:ค้นหาอันดับโลกเอฟไอวีบีวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2023อสมทปาโอลา เอโกนูวอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024โฉมฉาย ฉัตรวิไลกาบรีแยลา กีมาไรส์รัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตรวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่นพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวกองทัพ พีคฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลดอกเตอร์ไคลแมกซ์ ปุจฉาพาเสียววอลเลย์บอลหญิงทีมชาติอิตาลีวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิลรายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีจิรวรรณ เตชะหรูวิจิตรวอลเลย์บอลซารินะ โคกะวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2022พระอภัยมณีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)ประเทศไทยบอดี้สแลมอาณาจักรอยุธยาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยสุภาพบุรุษจุฑาเทพวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก