สถานีสวนจตุจักร

สถานีสวนจตุจักร (อังกฤษ: Chatuchak Park Station, รหัส BL13) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสถานีหมอชิต ซึ่งเป็นสถานีของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ได้โดยตรง และมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่

สวนจตุจักร
BL13

Chatuchak Park
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
เจ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ผู้ให้บริการทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BEM)
สาย     สายสีน้ำเงิน
ชานชาลา1 ชานชาลาเกาะกลาง
ราง2
การเชื่อมต่อ หมอชิต
รถโดยสารประจำทาง
รถโดยสารประจำทาง หมอชิต 2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างใต้ดิน
ทางเข้าออกสำหรับผู้พิการมีบริการ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีBL13
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547; 19 ปีก่อน (2547-07-03)
ชื่อเดิมหมอชิต
ผู้โดยสาร
25646,865,636
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้ามหานครสถานีต่อไป
พหลโยธิน
มุ่งหน้า หลักสอง
สายสีน้ำเงินกำแพงเพชร
มุ่งหน้า ท่าพระ ผ่าน บางซื่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอสสถานีต่อไป
ห้าแยกลาดพร้าว
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท
เชื่อมต่อที่ หมอชิต
สะพานควาย
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง

แก้

ถนนพหลโยธิน ฝั่งทิศตะวันตก ในอาณาเขตสวนจตุจักรด้านทิศใต้ ตรงข้ามศูนย์ซ่อมบำรุงหมอชิตของรถไฟฟ้าบีทีเอส (สถานีขนส่งหมอชิตเดิม) ในพื้นที่แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี

แก้
G
ระดับถนน
-ป้ายรถประจำทาง, หมอชิต
ตลาดนัดจตุจักร, สวนจตุจักร, ลานจอดรถ, อาคารบีทีเอส
B1
ทางเดินลอดถนน
ทางเดินลอดถนนทางออก 1-4, เมโทรมอลล์, กูร์เม่ต์ มาร์เก็ต สาขา MRT สวนจตุจักร
B2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสารห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
B3
ชานชาลา
ชานชาลา 2สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า ท่าพระ (ผ่าน บางซื่อ)
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านขวา
ชานชาลา 1สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า หลักสอง

รายละเอียดของสถานี

แก้

สีสัญลักษณ์ของสถานี

แก้

ใช้สีน้ำเงินตกแต่งกระเบื้องที่เสา ผนังและขอบด้านบนของแนวประตูกั้นชานชาลา เพื่อแสดงการเชื่อมต่อกับระบบรถไฟลอยฟ้า[1]

รูปแบบของสถานี

แก้

เป็นสถานีใต้ดิน กว้าง 30 เมตร ยาว 369 เมตร ระดับชานชาลาอยู่ลึก 17 เมตรจากผิวดิน เป็นชานชาลาแบบกลาง (Station with Central Platform)

ทางเข้า-ออก

แก้

สิ่งอำนวยความสะดวก

แก้
  • ลิฟท์สำหรับผู้พิการ ทางเข้า-ออกหมายเลข 1 และหมายเลข 4

ศูนย์การค้าภายในสถานี

แก้

ภายในสถานีสวนจตุจักร ได้จัดให้มีส่วนร้านค้าหรือเมโทรมอลล์ที่ชั้นบนสุดของสถานี เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551 ในชื่อ "Underground Shop by Metro Mall" เป็นศูนย์การค้าสถานีที่ 3 ในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ถัดจากสถานีสุขุมวิท และสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร) โฉมใหม่เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2562

เวลาให้บริการ

แก้
ปลายทางวันขบวนแรกขบวนสุดท้าย
สายสีน้ำเงิน[2]
ชานชาลาที่ 1
BL38หลักสองจันทร์ - ศุกร์05:5523:37
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์05:5823:37
ชานชาลาที่ 2
BL01ท่าพระ
(ผ่านบางซื่อ)
จันทร์ - ศุกร์05:5500:01
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์06:0100:01
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง-23:14

จุดเชื่อมต่อการเดินทาง

แก้
บริการสถานี/ป้ายหยุดรถสายทาง
รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หมอชิตรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท
รถโดยสารประจำทาง สวนจตุจักรช่วงเวลาปกติ

A1  A2  3  8  26  27  28  34  39  44  52  59  63  77  90  96  104  122  134  136  138  145  502  503  509  510  517  524  Y70E  1-1 (29)  1-3 (34)  1-5 (39)  2-17  2-34  2-38 (8)  2-42 (44)  2-48 (122)  3-45 (77)  4-29E (529) 


กะสว่าง
3  29  34  59  63  134  145 

รถชัตเติลบัส สวนจตุจักรเชื่อมต่อไปยัง ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ถนนพหลโยธิน (ป้ายสวนจตุจักร)

แก้

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
  • เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดประเภทของรถที่ให้บริการผู้ให้บริการหมายเหตุ
3 (1) สถานีรถไฟกลางกรุงเทพอภิวัฒน์คลองสาน1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก.
26 (1-36) (1) อู่มีนบุรีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

34 (3) อู่รังสิตสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
39 (3) ตลาดไทอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) (3) อู่รังสิตสนามหลวง1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

63 (2) MRT พระนั่งเกล้าอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

77 (2) อู่สาธุประดิษฐ์ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

96 (1) อู่มีนบุรี สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2-20 (134) (1) อู่บัวทองเคหะ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

136 (1) อู่คลองเตย สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
138 (1) อู่ราชประชา สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
ท่านํ้าพระประแดง
145 (3-18) (3) อู่แพรกษาบ่อดิน สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

เมกาบางนา
502 (1) อู่มีนบุรีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
503 (3) อู่รังสิตสนามหลวง1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
510 (1-19) (2)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิตอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
A1 (1) ท่าอากาศยานดอนเมืองสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
A2 (1)อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
4-70E (2)เซ็นทรัลศาลายา

BTS หมอชิต

1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน

แก้
สายที่จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดประเภทของรถที่ให้บริการผู้ให้บริการหมายเหตุ
8แฮปปี้แลนด์สะพานพระพุทธยอดฟ้ารถโดยสารประจำทางธรรมดาสีชมพู
รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีครีมขาว-นํ้าเงิน
บจก.กลุ่ม 39 เดินรถ
บจก.ทรัพย์ 888
8 (2-38) แฮปปี้แลนด์สะพานพระพุทธยอดฟ้ารถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
28 (4-38) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมสถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน)รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
29 (1-1) บางเขนหัวลำโพงรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
34 (1-3) บางเขนหัวลำโพงรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5) รังสิตอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
44 (2-42) เคหะคลองจั่นท่าเตียนรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
52 (1-6) ปากเกร็ดสถานีขนส่งผู้โดยสารจตุจักร (หมอชิต 2)รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
90 (1-27) ปทุมธานี BTS หมอชิตรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.กิตติสุนทร
104 ปากเกร็ดสถานีขนส่งผู้โดยสารจตุจักร (หมอชิต 2)รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
122 (2-48) แฮปปี้แลนด์สถานีขนส่งผู้โดยสารจตุจักร (หมอชิต 2)รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
524 สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน)หลักสี่รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)บจก.สมารท์บัส
529 (4-28) แสมดำอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
2-17 วงกลม: สถานีบางซื่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
2-34 วงกลม: สถานีสามเสนดินแดงรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
3-54 ตลาดพลูอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส
3-55 ท่าเรือคลองเตยพระราม 7รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)บจก.ไทยสมายล์บัส

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

แก้

ระเบียงภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. จุดเริ่มต้นของคนเดินทาง: ดำดินเดินทาง. คอลัมน์นายรอบรู้ นิตยสารสารคดี เดือนตุลาคม 2548
  2. "รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ตารางเดินรถไฟฟ้า". www.mrta.co.th.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
🔥 Top keywords: พระสุนทรโวหาร (ภู่)หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหารายชื่อตัวละครในพระอภัยมณีอสมทฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระอภัยมณีดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)ศิริลักษณ์ คองฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปณภัทร เสียงสมบุญพระอภัยมณี (ตัวละคร)อริยสัจ 4อาณาจักรอยุธยาพิมพ์ชนก ลือวิเศษไพบูลย์สุรเชษฐ์ หักพาลพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชราชวงศ์จักรีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรอยรักรอยบาปโฉมฉาย ฉัตรวิไลพิมพ์ผกา เสียงสมบุญประเทศไทยในวันที่ฝนพร่างพรายตารางธาตุสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมศึกยุคลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475นิราศภูเขาทองวอลเลย์บอลรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยอาณาจักรสุโขทัยกรณ์นภัส เศรษฐรัตนพงศ์นางสุวรรณมาลีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว