สโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด

สโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพ ในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่อาคารจัตุรัสจามจุรี แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อว่า "สโมสรฟุตบอลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" โดยเป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยที่ยังคงดำเนินกิจการอยู่ในปัจจุบัน ในอดีตเคยประสบความสำเร็จสูงสุดด้วยการคว้าแชมป์ถ้วยพระราชทาน ก ได้ในปี พ.ศ. 2463 ซึ่งสมัยนั้นถือว่าเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับสูงที่สุด

สโมสรฟุตบอลจามจุรี ยูไนเต็ด
ชื่อเต็มจามจุรี ยูไนเต็ด
ฉายาเสือสามย่าน, ลูกพระเกี้ยว
ก่อตั้ง1917; 107 ปีที่แล้ว (1917) (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
2011 (จามจุรี ยูไนเต็ด)
สนามสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
ความจุ20,000 คน
เจ้าของบริษัท จามจุรี ยูไนเต็ด จำกัด
ประธานไทย รศ.ดร.วิชิต คนึงสุขเกษม
ผู้จัดการไทย รศ.บัญชา ชลาภิรมย์
ผู้ฝึกสอนไทย อดุลย์ ลือกิจนา
ลีกไทยลีก 3
2566–67ไทยลีก 3 โซนกรุงเทพและปริมณฑล, อันดับที่ 8
สีชุดทีมเยือน

ปัจจุบันสโมสรเปลี่ยนชื่อเป็น "จามจุรี ยูไนเต็ด" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันลงแข่งขันอยู่ในระดับไทยลีก 3

ผู้เล่น

แก้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลขตำแหน่งสัญชาติผู้เล่น
1GK สุรดิษ นามต้นทอง
3DF ธนนนท์ นุชประมูล
4MF กันตินันท์ จันมูลตรี
5DF ภรภัทร สิงห์พันธ์
6MF ณัฐวัฒน์ ชื่นเจริญสุข
7DF พนมพร พวงมาลัย
8FW ปราชญ์ปรีชา เพ็ชร์ทอง
9FW ศุภกร ลัพเสถียร
10FW กษิตินาถ ศรีภิรมย์
12DF พงศกร สุขประมูล
13DF อะหมัด หีมเบ็ญหมัด
14FW วัชรพงษ์ วันทอง
15DF ฉัตริน พาทีทิน
16DF จารุพัฒน์ กิตติวงศ์ธรรม
17DF ชามิล ศรีตองอ่อน (กัปตันทีม)
19MF พรหมมินทร์ ปิ่นแก้ว
20MF วิญญวิศว์ ทุมคำปัญจรัส
21GK ปณวัตร ปราบสมรชัย
เลขตำแหน่ง สัญชาติผู้เล่น
22MF ศุภกฤต ท้าวก๋า
23MF ณัฐวุฒิ สุขสำราญ
24DF ธรรมรัฐ ภูมิสถาน
25DF ชุติพนธ์ แท่นทรัพย์
26GK ณภัทร สื่อมโนธรรม
27MF อิคลาศ สันหรน
28MF ณรงค์เกียรติ สมโชค
29FW วรเดช บุญมาขจรกิจ
30MF อิสมาอีล ยาประจัน
31MF สิทธิพล จำปาเรือง
39DF ก้องภพ วรรณภักดิ์
43DF สิทธิพร ฉิมนนท์
47DF กฤติน ดำสำราญ
49FW ปัณณธร รางชางกูร
51FW พุฒธิชัย สุริยมาตย์
80GK ก้องภพ ปันนาจา
97MF ภูบดี อ้อนชัยภูมิ

ผลงานของสโมสรในแต่ละฤดูกาล

แก้
ฤดูกาลลีกเอฟเอคัพลีกคัพลีก 3 คัพผู้ยิงประตูสูงสุด
ระดับแข่งชนะเสมอแพ้ได้เสียคะแนนอันดับชื่อจำนวนประตู
2563–64ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
201064432036อันดับที่ 4ไม่ได้เข้าร่วมไม่ได้เข้าร่วม อีแซก แอมเบนกาน8
2564–65ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
2612104442346อันดับที่ 4ไม่ได้เข้าร่วมไม่ได้เข้าร่วม อีแซก แอมเบนกาน9
2565–66ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
261088333138อันดับที่ 5ไม่ได้เข้าร่วมไม่ได้เข้าร่วม โมฮาเหม็ด กูอาดียอ9
2566–67ไทยลีก 3
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
266812284126อันดับที่ 8ไม่ได้เข้าร่วมไม่ได้เข้าร่วมรอบคัดเลือกรอบสอง กษิตินาถ ศรีภิรมย์6

เกียรติประวัติ

แก้

ถ้วยพระราชทาน ก

  • ชนะเลิศ พ.ศ. 2463

สโมสรพันธมิตร

แก้

พันธมิตรในประเทศ

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

อ้างอิง

แก้
🔥 Top keywords: หน้าหลักลิซ่า (แร็ปเปอร์)องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2567ดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวชาญ พวงเพ็ชร์พระสุนทรโวหาร (ภู่)สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีวอลเลย์บอลชายเนชันส์ลีก 2024ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปกองทัพ พีคฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญรัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตรทักษอร ภักดิ์สุขเจริญการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2563ศิริลักษณ์ คองพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรไอยูวอลเลย์บอลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยโฉมฉาย ฉัตรวิไลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)ณฐพร เตมีรักษ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชชญานิศ จ่ายเจริญอาณาจักรอยุธยาทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนานิชคุณ ขจรบริรักษ์อริยสัจ 4ราชวงศ์จักรีประเทศสโลวาเกียแบล็กพิงก์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช